เว็บสล็อต , สล็อตแตกง่าย ครบรอบ 1 ปี อุ้มหาย วันเฉลิม อาชญากรรมที่ยังไร้คำตอบ

เว็บสล็อต , สล็อตแตกง่าย ครบรอบ 1 ปี อุ้มหาย วันเฉลิม อาชญากรรมที่ยังไร้คำตอบ

เว็บสล็อต , สล็อตแตกง่าย 4 มิถุนายน 2563 วันเฉลิม ถูก อุ้มหาย ที่กรุงพนมเปญ ของกัมพูชา ผ่านมา 1 ปี การหายตัวไปของนักกิจกรรมและนักเคลื่อนไหวทางสังคมชาวไทยมีความคืบหน้าไปแค่ไหน ขอพาทุกคนมาย้อนดูไทมล์และความคืบหน้าล่าสุดกันอีกครั้ง ภาพจากกล้องวงจรปิดและคำบอกเล่าของผู้เห็นเหตุการณ์ เชื่อได้ว่า “ต้าร์” วันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์ ถูกชายฉกรรจ์กลุ่มหนึ่งลักพาตัวไปจากหน้าคอนโดฯ เมื่อวันที่ 4 มิ.ย. 2563 เวลาประมาณ 16.40 น.

โดยนักกิจกรรมและนักเคลื่อนไหวทางสังคมชาวไทย วัย 37 ปี 

ที่ลี้ภัยอยู่ในกัมพูชานาน 6 ปี หลังการรัฐประหาร ปี 2557 ถูกชายฉกรรจ์พาตัวขึ้นรถยนต์สีดำ ระหว่างที่กำลังลงมาซื้อลูกชิ้นหน้าคอนโดมีเนียมที่พักอาศัยในกรุงพนมเปญ คำพูดสุดท้ายที่พี่สาวได้ยินจากน้องชายผ่านทางโทรศัพท์ คือ “โอ๊ย! หายใจไม่ออก” ก่อนที่โทรศัพท์จะถูกตัดสายไป

หลังเป็นข่าว พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวว่า ไม่รู้จักวันเฉลิมทราบแต่เพียงว่าหนีไปอยู่ต่างประเทศ พร้อมระบุจะไม่ก้าวล่วงอำนาจของประเทศอื่น โดยนับตั้งแต่ยุคของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ในปี 2557 วันเฉลิมนับเป็นผู้ลี้ภัยทางการเมืองไทยรายที่ 7 ที่มีรายงานการหายตัว ขณะที่มีผู้ลี้ภัยอีก 2 รายที่พบเสียชีวิตแล้ว รวมถึงคนไทยอีกกว่า 100 คนที่ลี้ภัยไปยังต่างประเทศ

ฝั่งโฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติกัมพูชา ระบุในตอนนั้นว่า เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็น “ข่าวปลอม” ตามด้วยข่าวที่ระบุในเวลาต่อมาว่า ไม่พบเบาะแส ด้านครอบครัวของวันเฉลิม เดินสายยื่นเอกสารให้กับหลายหน่วยงาน อาทิ กระทรวงการต่างประเทศ และคณะกรรมการธิการการ (กมธ.) กฎหมาย การยุติธรรม และสิทธิมนุษยชน

หลังการหายไป แฮชแท็ก #saveวันเฉลิม ขึ้นอันดับหนึ่งในทวิตเตอร์ทันที นอกจากกระแสแฮชแท็กกลุ่มนักศึกษาและนักกิจกรรมได้จัดกิจกรรมเรียกร้องความยุติธรรมให้กับวันเฉลิมด้วยเช่นกัน รวมถึงกิจกรรมยื่นหนังสือหน้าสถานทูตกัมพูชา โดยการอุ้มหายนายวันเฉลิมเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้ประชาชนจำนวนมากลุกฮือออกมาประท้วงรัฐบาล พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา และเรียกร้องให้มีการปฏิรูปประเทศ

เช่นเดียวกับความเคลื่อนไหวสภายุโรปเรียกร้องทางการไทย กัมพูชา เร่งสอบสวน โดยเรื่องมาคืบหน้าอีกครั้งเมื่อเดือนธันวามคมที่ผ่านมา เมื่อศาลกัมพูชาได้นัดไต่สวนคดีนายวันเฉลิมเป็นครั้งแรกพร้อมกับให้พี่สาวสิตานันเข้าให้ปากคำที่กัมพูชา

นายธานี แสงรัตน์ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศเน้นย้ำ รัฐบาลไทยได้ใช้ความพยายามเต็มที่ในการอำนวยความสะดวกผ่านหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องให้กระบวนการทางกฎหมายสามารถดำเนินไปได้ด้วยดีในการค้นหานายวันเฉลิม

ข่าวคราวการถูกอุ้มหายของวันเฉลิมกลับมาถูกพูดถึงอีกครั้งในโอกาสครบรอบ 1 ปี ที่หายตัวไป โดยเมื่อวันที่ 2 มิ.ย. ที่ผ่านมา แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย ร่วมกับมูลนิธิผสานวัฒนธรรม ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน และสำนักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ จัดงานเสวนาออนไลน์ในหัวข้อ “ถอดบทเรียนสังคมไทย 1 ปีอุ้มหายวันเฉลิม” ในวาระครบรอบหนึ่งปี ที่วันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์ นักกิจกรรมและนักเคลื่อนไหวชาวไทยถูกชายพร้อมอาวุธปืนลักพาตัวในวันที่ 4 มิถุนายน 2563 หลังลี้ภัยการเมืองอยู่ในพนมเปญ ประเทศกัมพูชา โดยปัจจุบันคดีของวันเฉลิมยังไม่มีความคืบหน้าแต่อย่างใด

เจ๋ง! ม.มหิดล สร้างความรู้ใหม่แก่วงการ ‘พฤกษศาสตร์’ โลก

ม.มหิดล ได้สร้างองค์ความรู้ใหม่แก่วงการ พฤกษศาสตร์ โลก จากการค้นพบพืชชนิดใหม่ในวงศ์ผักบุ้ง สกุลหนาวเดือนห้า สองปีก่อนโลกยังไม่รู้จักภัยจากเชื้อไวรัส COVID-19 แต่พอเมื่อมีการแพร่ระบาดในวงกว้างทั่วโลก จึงทำให้ทุกวันนี้ไม่มีใครที่ไม่รู้จักโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ดังกล่าว

เช่นเดียวกับนานาสรรพสิ่งบนโลกใบนี้ที่ยังรอคอยการค้นพบ รวมถึงพืชที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติซึ่งรอการค้นพบว่ามีประโยชน์ หรือโทษอย่างไร โดยงานอนุกรมวิธานพืช (Plant Taxonomy) คือพื้นฐานสำคัญสู่จุดมุ่งหมายดังกล่าว

เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะ “ปัญญาของแผ่นดิน” ได้สร้างองค์ความรู้ใหม่แก่วงการพฤกษศาสตร์โลก จากการค้นพบพืชชนิดใหม่ในวงศ์ผักบุ้ง สกุลหนาวเดือนห้า (Erycibe Roxb.) จำนวน 3 ชนิด จากประเทศอินโดนีเซีย และมาเลเซีย โดย นายพงศกร โกฉัยพัฒน์ นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ค้นพบขณะศึกษาวิจัยพืชสกุลนี้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ร่วมกับ Dr.Timothy M.A. Utteridge ผู้เชี่ยวชาญจากสวนพฤกษศาสตร์หลวงเมืองคิว (Royal Botanic Gardens) หรือ “สวนคิว” (Kew Gardens) แห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นสถานที่ศึกษาวิจัยทางด้านพฤกษศาสตร์ระดับโลก โดยพืชชนิดใหม่ทั้ง 3 ชนิดดังกล่าว ได้รับการตีพิมพ์ใน “Phytotaxa” ประเทศนิวซีแลนด์ ซึ่งเป็นวารสารทางด้านพฤกษศาสตร์ที่มีชื่อเสียงระดับโลก

นายพงศกร โกฉัยพัฒน์ เล่าว่า ในระหว่างที่ตนได้ทำการศึกษาตัวอย่างพันธุ์ไม้สกุลหนาวเดือนห้าจากประเทศอินโดนีเซีย และมาเลเซีย ด้วยทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก คือ รองศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา ไตรเพิ่ม อาจารย์ประจำภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้เชี่ยวชาญด้านพืชวงศ์ผักบุ้ง และ Dr.Timothy M.A. Utteridge ผู้เชี่ยวชาญด้านพืชในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมนั้น ได้ค้นพบพืชชนิดใหม่ในวงศ์ผักบุ้ง สกุลหนาวเดือนห้า (Erycibe Roxb.) 3 ชนิด ได้แก่ 1. E. brunneopilosa Kochaiph. & Utteridge 2. E. sangiheensis Kochaiph. & Utteridge และ 3. E. trichocorpa Kochaiph. & Utteridge ซึ่งถึงแม้ว่าพืชทั้งสามชนิดจะไม่ได้ค้นพบในประเทศไทย แต่ก็มีประโยชน์ต่อโลกได้ เนื่องจากเป็นทรัพยากรของโลก เว็บสล็อต , สล็อตแตกง่าย