ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ทำให้ส่งผลกระทบต่อหลายองค์กรรวมไปถึงพนักงานขององค์กรนั้น ๆ อีกด้วย ซึ่งบางองค์กรก็อาจจะมีการไล่พนักงานออกจากบริษัท หรือหากดีหน่อยก็ปรับให้สามารถ WFH ได้\แต่ล่าสุดที่ทำให้คนทั่วโลกจับตามองเป็นอย่างมากก็คือ CEO ของ ทวิตเตอร์
ได้ออกมาประกาศชัดว่า หากพนักงานคนใดก็ตามของทวิตเตอร์ อยากจะทำงานที่บ้านไปตลอดชีวิต ก็จัดไปเลย แจ็ค ดอร์ซีย์ คนก่อตั้งและ CEO ของ ทวิตเตอร์ ได้ออกมากล่าวถึงสถานการณ์ล่าสุดกับบรรดาพนักงานของตัวเองว่า ต่อให้สถานการณ์โควิด-19 สิ้นสุดไปแล้วหากพนักงานคนใดที่มีความประสงค์อยากจะ Work From Home หรือทำงานที่บ้านต่อไป ก็ไม่มีปัญหา ซึ่งเขาเอ่ยด้วยว่า พร้อมสนับสนุนกับการทำงานที่บ้านอย่างเต็มที่
“จาก 2-3 เดือนที่ผ่านมาที่เรา (ทวิตเตอร์) ได้ทำงานกันที่บ้านอย่างจริงจัง ซึ่งผลก็ออกมาแล้วว่า พวกเราสามารถทำงานทุกอย่างได้ แล้วทำไมเราถึงจะไม่ทำสิ่งนี้ต่อไปล่ะ แต่ถึงอย่างไรแล้ว การเข้าไปทำงานในออฟฟิศ ก็ยังสามารถทำได้ หากรู้สึกไม่สะดวกกับการทำที่บ้าน แต่อาจต้องมีมาตรการที่เข้มงวดมากยิ่งขึ้น”ดอร์ซีย์ ประกาศ
สำหรับสถานะของ ออฟฟิศทวิตเตอร์ ขณะนี้ยังคงปิดทำการ แต่คาดว่าจะเปิดได้อีกครั้งภายในเดือนกันยายนนี้ หลังมีการประเมินว่าสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 จะดีขึ้นในสหรัฐฯ แต่ในส่วนกิจกรรมอื่นใน ทวิตเตอร์ โดยเฉพาะการประชุมยังคงไม่อนุญาตให้นั่งร่วมโต๊ะประชุมเดียวกัน โดยให้เป็นการประชุมผ่านระบบออนไลน์ไปจนถึงปีหน้า
เมืองอู่ฮั่นเริ่มรายงานผู้ติดเชื้อครั้งแรกเมื่อวันที่ 29 ธ.ค. ปีที่แล้ว ก่อนที่สถานการณ์จะรุนแรงขึ้นจนทำให้ทางการต้องปิดเมืองและเปิดโรงพยาบาลสนามนับสิบแห่ง การระบาดที่เมืองอู่ฮั่นผ่านจุดพีคช่วงกลางเดือนก.พ. โดยผู้ติดเชื้อรายใหม่ลดลงเรื่อยๆ ทำให้ทางการตัดสินใจเปิดเมืองในวันที่ 8 เม.ย. ก่อนที่จะมาพบผู้ติดเชื้อรายใหม่ในพื้นที่อีกครั้งช่วงสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา
ทั้งนี้ อีกหนึ่งพื้นที่ของจีน ที่ต้องจับตาอย่างใกล้ชิด คือ มณฑลจี๋หลิน ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ มีการพบผู้ติดเชื้อแบบกลุ่มก้อนมากถึง 11 คน จนทางการต้องประกาศยกระดับความเสี่ยงโควิด-19 ในพื้นที่
หากอ้างอิงตามระดับดัชนีคุณภาพอากาศหรือ AQI ในกรุงเดลีนั้น ถือว่าสูงกว่าเกณฑ์ที่องค์การอนามัยโลกหรือ WHO ตั้งไว้มาก ซึ่งบางจุดในเมืองหลวงอินเดียมีค่าดัชนีคุณภาพสูงถึง 400 ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับ “ร้ายแรง” และมากกว่าระดับ “พึงพอใจ” ถึงสี่เท่า
ประเทศอินเดียถือเป็นประเทศที่ต้องเผชิญกับปัญหามลภาวะอากาศอย่างหนัก โดยมีหลายปัจจัยที่ทำให้สภาพอากาศเลวร้าย เช่น ฝุ่น การปล่อยมลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม และ สภาพอากาศ
วันกาชาดสากล 8 พฤษภาคม
วันกาชาดสากล – หน่วยงานกาชาด อุบัติขึ้นท่ามกลางสภาวะสงคราม เพื่อช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับบาดเจ็บจากความรุนแรงในสงคราม จุดเริ่มต้นสำคัญมาจากผู้มีคุณปการอย่างใหญ่หลวง คือ นายอังรี ดูนังต์ (Henry Dunant) ผู้ก่อตั้งกาชาด
นายอังรี ดูนังต์ (Henry Dunant) เป็นชาวสวิส เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2371 ณ กรุง เจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ กาชาดถือกำเนิดขึ้นหลังจากที่เขาเดินทางไปประเทศอิตาลี่ เป็นช่วงเวลาเดียวกับเกิดสงครามที่ซอลเฟริโน ซึ่งคู่ขัดแย้งระหว่าง ฝรั่งเศส+มืออิตาลี รบกับออสเตรีย
ภาพของผู้คนล้มตายและบาดเจ็บจำนวนมาก ไร้หน่วยงานใดช่วยเหลือพยาบาล อังรี ดูนังต์จึงต้องยื่นมือเข้าไปช่วยผู้บาดเจ็บด้วยตนเอง พร้อมอาสาสมัครซึ่งเป็นชาวบ้านในพื้นที่
ด้วยแนวคิดและปณิธานของอังรี ดูนังต์ เวลาต่อมาจึงเกิดกาก่อตั้งคณะกรรมกาชาดระหว่างประเทศ และการก่อตั้งสภากาชาดประจำชาติขึ้นใน พ.ศ. 2406 ในการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ เมื่อเกิดภัยสงครามและภัยพิบัติต่างๆ
ต่อมา พ.ศ. 2407 ได้เกิดอนุสัญญาเจนีวา (Geneva Conventions) กฎหมายมนุษยธรรมฉบับแรกของโลก ระหว่างประชุมกาชาดระหว่างประเทศใน ณ นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
อนุสัญญาเจนีวา มีผลให้กองทัพมีหน้าที่ดูแลรักษาพยาบาลทหารที่ได้รับบาดเจ็บ โดยไม่เลือกฝ่าย และได้มีการคิดสัญลักษณ์สากลของหน่วยกาชาดขึ้นมา นั่นคือ กากบาทสีแดงบนพื้นสีขาว (Red cross) นอกจากนี้ยังมีตราสัญลักษณ์อื่น ๆ ที่บางประเทศใช้กันคือ “ตราเสี้ยววงเดือนแดง” (Red Crescent) และ “ตราเพชรแดง” (Red Crystal)
ด้วยผลงานของอังรี ดูนังต์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพปี พ.ศ.2444 นับเป็นคนแรกของสาขานี้
อังรี ดูนังต์ ้เสียชีวิตลงเมื่อวันที่ วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ.2453 อายุ 82 ปี เพื่อเป็นการยกย่องบิดาผู้ให้กำเนิดหน่วยงานกาชาด จึงถือเอาวันเกิดของเขา 8 พฤษภาคม เป็นวันกาชาดสากล
จังหวัดอาเจะห์นั้นยังเป็นเมืองเดียวที่ยังอยู่ภายใต้กฎชารีอะห์ โดยนอกจากกรณีแล้ว การเฆี่ยนยังถูกใช้ลงโทษในกรณีที่ประชาชนดื่มเครื่องมึนเมา ประพฤติผิดในกาม หรือ มีเพศสัมพันธ์ระหว่างเพศเดียวกัน
Credit : ที่เที่ยวญี่ปุ่น | จัดอันดับต่างๆ | รีวิวของแบรนเนม | วิธีการลงทุนต่าง